ตามธรรมชาติ กระบวนการผลิตน้ำนมของร่างกายแม่ แบ่งเป็น 3 ช่วง คือ
ช่วงแรกตอนตั้งครรภ์ได้สัก 16 - 22 สัปดาห์ ร่างกายจะเริ่มผลิตคอลอสตรัม หรือหัวน้ำนม แต่ผลิตในปริมาณเพียงน้อยนิด ช่วงน...
สารพันปัญหานมแม่
Tags: นมแม่
-
-
ขณะนี้งานวิจัยเพื่อทำความเข้าใจผลกระทบของการติดเชื้อ COVID-19 ต่อคุณแม่ตั้งครรภ์ ยังมีจำกัด แต่ในปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานว่ามีความเสี่ยงสูงต่อการเจ็บป่วยรุนแรงกว่าประชากรทั่วไป อย่า...
-
ความกังวลของแม่ให้นมเกือบทุกคนคือ กลัวนมหด นมหาย ไม่มีนมให้ลูกกินได้เพียงพอ ยิ่งถ้าสังเกตตัวเองแล้วพบว่า หลังคลอด1 - 2เดือน เต้านมคัดน้อยลง นั่นแสดงว่านมกำลังเริ่มหดหายไปใช่ไหม? อ...
-
Q: ใช้เครื่องปั๊มแค่ 15 นาที แล้วลานนมเป็นแผล ขนาดปั๊มเบาๆ ก็ยังเป็น จะแก้ไขอย่างไรดี? A: ถ้าปั๊มแค่ 15 นาที ด้วยแรงต่ำสุดของเครื่องแล้วก็ยังเจ็บ แสดงว่าเครื่องที่ใช้อยู่อาจจะมีแร...
-
1. เชื้อ COVID-19 สามารถส่งผ่านทางการให้ลูกกินนมแม่ได้หรือไม่ ยังไม่มีการตรวจพบเชื้อ COVID-19 ในน้ำนมแม่ที่ได้จากแม่ที่ถูกสงสัยหรือยืนยันแล้วว่าติดเชื้อลูกจึงมีโอกาสติดเชื้อน้อยมา...
-
ในความเป็นจริงแล้ว เต้านมจะไม่เคยเกลี้ยงจริงๆ เพราะร่างกายจะทำการผลิตน้ำนมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีการวิจัยพบว่า ทารกไม่ได้ดูดนมจนหมดเต้า แต่ปริมาณน้ำนมที่ทารกดูดออกไปนั้นจะมากหรือน้อยขึ...
-
เป้าหมาย : ปั๊มน้ำนมให้ได้ปริมาณเต็มที่ 25-35 ออนซ์ต่อวัน ภายใน 10-14 วัน หลังคลอด โดยไม่ต้องคำนึงว่าลูกจะกินแค่ไหน ร่างกายของคุณแม่พร้อมที่จะผลิตน้ำนมแล้ว ถ้ารอนานเกินไป มันอาจจะย...
-
เพิ่มน้ำนมด้วยการเข้าเต้า [ ] ตรวจสอบให้แน่ใจว่าลูกดูดอย่างถูกวิธีและได้น้ำนม [ ] ให้ดูดเต้าบ่อยขึ้น [ ] ให้ดูดทั้งสองเต้าทุกครั้ง [ ] สลับเต้าไปมาหลายๆ ครั้ง [ ] Skin to skin c...
-
หากลูกไม่ได้มีปัญหาอะไร คุณแม่ให้นมไม่จำเป็นต้องงดอาหารทั้งหมดตามรายการข้างล่างนี้นะคะ รายการทั้งหมดใช้เพื่อเป็นไกด์ไลน์สำหรับหาสาเหตุของการแพ้ เด็กแต่ละคนแพ้อาหารแต่ละชนิดไม่เหมือ...
-
อยู่ๆ ลูกก็ไม่ยอมกินนม หรือNursing strike คุณแม่ที่ให้ลูกเข้าเต้ามาดีๆ แตาอยู่มาวันนึง ลูกก็ออกอาการงอแง ไม่ยอมเข้าเต้าเสียดื้อๆ อาการปฏิเสธเต้าแบบนี้ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Nursing S...
-
รวมพอดคาสต์วิธีกู้น้ำนม เพิ่มน้ำนม แก้ปัญหานมน้อย นมไม่พอ